บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กันยายน, 2018

การจัดการวัสดุและการผลิต

รูปภาพ
การจัดการวัสดุและการผลิต           ระบบการผลิตแบบทันเวลาพอดี           ' 'JIT มีเป้าหมายที่จะตอบสนองอุปสงค์ในทันที ด้วยคุณภาพที่สมบูรณ์ และปราศจากความสูญเปล่า''           แนวทางนี้ถูกสร้างขึ้นในประเทสญี่ปุ่นโดยบริษัท Toyota ในทศวรรษ 1970 ในช่วงแรกๆ แนวทางนี้เป็นที่รู้จักกันในชื่อ 'ระบบการผลิตแบบโตโยต้า' (Toyota production System : TPS) หรือ 'ความเป็นโตโยต้า' ชื่อเรียกว่า 'ทันเวลาพอดี' ( Jusy-in-time : JIT ) เป็นชื่อที่นำมาใช้กันภายหลัง          แนวคิดหลังแนวคิดหนึ่งในระบบนี้ คือ การกำจัดความสูญเปล่า (Muda หรือ 'มูดะ' ในภาษาญี่ปุ่น) ออกจากกระบวนการผลิต ในบริบทนี้ 'ความสูญเปล่า' (Waste) ไม่ใช่เฉพาะผลิตภัณฑ์ที่ต้องทำงานซ้ำหรือผลิตภัณฑ์ที่ต่ำกว่ามาตรฐาน แต่ความสูญเปล่าภายในสภาพแวดล้อมของระบบการผลิตแบบทันเวลาพอดีหมายถึงความสูญเปล่าทุกรูปแบบ โดยจะพยายามลดสิ่งที่ถูกเรียกว่า 'ความสูญเปล่า 7 ประการ'          1. การผลิตมากเกินไป      ...

ประเด็นหลักและความท้าทายของโลจิสติกส์

รูปภาพ
ประเด็นหลักและความท้าทายของโลจิสติกส์          ปัจจัยดังเดิมที่ผลักดันโลจิสติกส์มาโดยตลอด คือ 'ต้นทุน' เทียบกับ 'การบริการลุกค้า' เรื่องนี้ไม่ได้เปลี่ยนแปลงไปเลย เหมือนที่เราจะได้เห็นจากการนำเสนอผลการสำรวจจากช่วงไม่นานมานี้             สภาพแวดล้อมภายนอก            อิทธิฟลหลักหนึ่งที่มีความสำคัญเพิ่มมากในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมานี้ คือ พัฒนาการของสหภาพเศรษฐกิจต่างๆ (สหภาพยุโรป,ASEAN ,NAFTA ฯลฯ) ถึงแม้ว่าการก่อตั้งสหภาพเหล่านี้จะก่อตั้งด้วยเหตุผลด้านการเมือง แต่ประสบการณ์ได้สอนให้เรารู้ว่ามีการเปลี่ยนแปลงที่มีนัยสำคัญทางเศรษฐกิจ ซึ่งโดยส่วนใหญ่ก็เป็นการเปลี่ยนแปลในทางที่ดีด้วย            การผลิตและอุปทาน           พัฒนาการหล่านี้เป็นผลของทั้งการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีและการเปลี่ยนแปลงขององค์กร การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมีดังนี้          •  เทคโนโลยีในการผลิตแบบใหม่ๆ ซึ้งสามารถรองรับข้อเรียก...

การบริการลูกค้าและโลจิสติกส์

รูปภาพ
การบริการลูกค้าและโลจิสติกส์          มีบริษัทจำนวนมากที่ถือว่าการบริการลูกค้าเป็นแง่มุมสำคัญในธุรกิจของตนเอง แต่เมื่อลองมองให้ลึกลงไปแล้ว มีบริษัทที่หาคำบรรยายได้ยากว่า 'การบริการลูกค้า' ที่พวกเขากล่าวถึงหมายถึงอะไร หรือให้ นิยามที่แน่นอนเกี่ยวกับมาตรวัดการบริการลูกค้า ได้อยากเช่นกัน ในอดีต การให้บริการนั้นอยู่บนพื้นฐานของการคาดเดาแบบกว้างๆว่าลูกค้าต้องการอะไร แทนที่จะนำข้อเรียกร้องหรือความต้องการที่แท้จริงของลูกค้า หรืออย่างน้อยมองจากมุมมองของลูกค้าว่าพวกเขาต้องการอะไร           องค์ประกอบของการบริการลูกค้า             องค์ประกอบด้านโลจิสติกส์ของการบริการลุกค้าสามารถนำไปจัดประเภทได้หลายวิธี องค์ประกอบเหล่านี้อาจถูกว่าเป็นองค์ประกอบที่เกี่ยวโยงกับธุรกรรม ซึ้งเน้นไปที่การบริการเฉพาะที่จัดให้           องค์ประกอบของธุรกรรม           ส่วนใหญ่จะสามารถแบางออกได้ 3ประเภท ซึ่งสะท้อนธรรมชาติและจังหวะเวลาข้อเรียกร้องด้านบริการ...